วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

คำศัพท์ 'คณิตศาสตร์'

1. Axis of symmetry - แกนสมมาตร
2. Square - กำลังสอง
3. Perfect square - กำลังสองสมบูรณ์
4. Inverse variation - การแปรผกผัน
5. Joint variation - การแปรผันเกี่ยวเนื่อง
6. Direct variation - การแปรผันโดยตรง
7. Circle - วงกลม
8. Square - สี่เหลี่ยมจัตุรัส
9. Triangle - สามเหลี่ยม
10. Rectangle - สี่เหลี่ยมผืนผ้า
11. Pentagon - ห้าเหลี่ยม
12. Hexagon - หกเหลี่ยม
13. Oval - วงรี
14. Cube - สี่เหลี่ยมลูกบาศก์
15. Pyramid - สี่เหลี่ยมคางหมู
16. Sphere - รูปทรงกลม
17. Diamond - สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด
18. Cube - ลูกบาศก์
19. Cone - กรวย
20. Crescent - รูปพระจันทร์เสี้ยว
21. Perimeter - เส้นรอบวง
22. Straight line - เส้นตรง
23. Curve - เส้นโค้ง
24. Angle - มุม
25. Plus - บวก
26. Minus - ลบ
27. Multiply - การคูณ
28. Divide - การหาร
29. Fraction - เศษส่วน
30. Decimal - ทศนิยม

วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

ฟังก์ชันขั้นบันได

       ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริงและมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได ... อ่านเพิ่มเติม



ฟังก์ชันกำลังสอง

       ลักษณะสำคัญ
1. กราฟของฟังก์ชันกำลังสองจะมีลักษณะเป็นเส้นโค้งพาราโบลา
2. ค่า a  เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงลักษณะคว่ำหรือหงายของกราฟ
 2.1  a > 0  ได้พาราโบลาหงาย

 2.2  a < 0   ได้พาราโบลาคว่ำ ... อ่านเพิ่มเติม

การไม่เท่ากัน

       สมบัติของการไม่เท่ากัน 
              กำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ 

1. สมบัติการถ่ายทอด     ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c   
2. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a + c > b+ c
3. จำนวนจริงบวกและจำนวนจริงลบ
            a เป็นจำนวนจริงบวก ก็ต่อเมื่อ a >

            a เป็นจำนวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ a < อ่านเพิ่มเติม

จำนวนจริง



       ระบบจำนวนจริง จะประกอบไปด้วย
1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น 2 , 3, 5, -2, - 3, -5 หรือ ซึ่งมีค่า 3.14159265...
2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

       การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
    
ตัวอย่างที่ 1    เหตุ   1.สัตว์เลี้ยงทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย
                                2. แมวทุกตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

                       ผล     แมวทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย อ่านเพิ่มเติม

วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

       การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป

       การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง  เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่  ดังนั้นข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล  หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้าง อ่านเพิ่มเติม